วันเสาร์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 15

27-09-54
วันนี้อาจารย์พูดถึงความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์พูดถึงหัวข้อหลักๆเกี่ยวกับรายวิชา
ความหมายของวิทยาศาสตร์
สื่อวิทยาศาสตร์
ทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์
ของเล่นวิทยาศาสตร์
โครงการวิทยาศาสตร์
การจัดนิทรรศการ
การจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
การเขียนแผนการจัดการเรียนวิทยาศาสตร์
หลักการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์
การประเมินทางวิทยาศาสตร์)สื่อมีอยู่สองอย่าง คือ
-ครูเตรียมไว้
-เด็กเล่นเอง
การใช้คำถามเพื่อให้เกิดการคิด

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 14

20-09-54
ในวันนี้นั้น อาจารย์ให้เอาแผนการจัดการเรียนการสอนส่ง
และได้อธิบาย หลักการเขียนแผน
วัตถถุประสงค์มีดังนี้
บอกส่วนประกอบต่างๆ
บอกลักษณะ
2. ประสบการณ์สำคัญ
ทักษะทางด้านการสังเกต
ทักษะทางด้านการวัด
ทักษะทางด้านการจำแนก
ทักษะทางด้านการสื่อความหมาย
3. สาระสำคัญ
ชื่อเรื่องที่จะสอน / หน่วย
4.การจัดกิจกรรม
ขั้นนำ
ขั้นสอน
ขั้นสรุป

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 13

13-09-54
วันนี้อาจารย์สอนเขียนแผนการจัดประสบกาณ์ทางวิทยาศาสตร์ ว่าการเขียนแผนที่ดีนั้นต้องมีหลักการอย่างไร โดยมีเนื้อหาดังนี้
1.สาระการเรียนรู้
- สิ่งที่อยู่รอบตัวเด็ก
- เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก
- ธรรมชาติ
- บุคคลและสถานที่ต่างๆ

2.ประสบการณ์สำคัญ
- ด้านร่างกาย
- ด้านอารมณ์
- ด้านสังคม
- ด้านสติปัญญา
- ด้านภาษา
- ด้านวิทยาศาสตร์
3.ทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์
- การจำแนก
- การสังเกต
- การสื่อความหมาย
- การแสดงความคิดเห็น
- การวัด
- การคำนวณ
- การแสดงความคิดเห็น

วันศุกร์ที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่12

06-09-25
วันนี้อาจารย์ได้สอนเรื่องน้ำโดยอาจารย์เปิดวีดีโอให้ดู
1.สิ่งที่อยู่รอบตัว
2.ครอบครัว
3.ธรรมชาติ
4.ชุมชน
ดู VDO เรื่องน้ำ
มหัศจรรย์ของน้ำ
น้ำเป็นส่วนประกอบของร่างกาย สิ่งต่างๆบนโลกมีน้ำเป็นส่วนประกอบ มีน้ำ 70% ผลไม้ 90% คนเราจะขาดน้ำได้ไม่เกิน 3 วัน
อูฐขาดน้ำได้ 10 วัน หลังอูฐมีไขมันไขมันเปลี่ยนเป็นน้ำไปหล่อเลี้ยงร่างกาย น้ำในร่างกายจะช่วยปรับสมดุล
น้ำมี 3 สถานะ 1. ของแข็ง 2. ของเหลว 3. ก๊าซ ของแข็งเป็นของเหลวของเหลวกลายเป็นไอ
ฝน คือ ไอน้ำที่ละเหยลงมาจากท้องฟ้า
น้ำขยายตัวเมื่อเปลี่ยนสถานะ สะสารทุกชนิดในโลกนี้มีโมเลกุลเป็นส่วนประกอบ
น้ำจะมีโมเลกุลมากกว่าน้ำแข็ง
เมื่อน้ำกลายตัวเป็นน้ำแข็งจะขยายตัวเพิ่มขึ้น 12%
น้ำเกลือจะมีความหนาแน่นกว่าน้ำเปล่า
น้ำ เป็นส่วนประกอบของร่างกาย อากาศมีความเกี่ยวข้องกับร่างกายเพราะเนื่องจากอากาศร้อนมากทำให้ร่างกายเสียเหงื่อมากดังนั้นเราควรดื่มน้ำวันละ 7-8 แก้วต่อวัน
สิ่งมีชีวิตต่า ๆ ในโลกมีส่วนประกอบของน้ำหรือไม่
วิธีการทดลอง
1.หาผลไม้พืชผักต่าง ๆ เช่น แอปเปิ้ล แครอท
2.นำมีดมาหันผลไม้เป้นชิ้นเล็ก ๆ แล้วใช้เครื่องบดให้ละเอียด
3.แล้วลองบีบดูจะเห็นว่าน้ำออกมาจากผลไม้
จะเห็นได้ว่า น้ำจะมีส่วนประกอบในสิ่งมีชีวิต ร่างกายของมนุษย์มีน้ำเป็นส่วนประกอบอยู่ 70 % ผักและผลไม้มีน้ำเป็นส่วนประกอบ 90 % ดังนั้นถ้าคนขาดน้ำจะทำให้รางกายอ่อนเพลีย
ฝนตกจะเกิดจากอะไร
คุณสมบัติของน้ำมี 3 ประการ คือ
1.ของแข็งคือ น้ำแข็ง
2.ของเหลวคือ น้ำที่เราดื่มและใช้อาบทุกวัน
3.ก๊าซคือ ไอน้ำ
น้ำสามารถเปลี่ยนสถานะจากของแข็งกลายเป็นของเหลว จากของเหลวกลายเป็นไอ จากไอกลายเป็นของเหลว

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่11

30/08/2554
วันนี้วันอาจารย์และนักศึกษาได้ร่วมสนทนา อภิปราย ซักถาม
เกี่ยวกับการทำประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ที่ทำจากวัสดุเหลือใช้ หาได้ง่ายและอาจารย์ได้มอบหมายงาน
ให้กลับไปทำเป็นการบ้านคือ ให้นักศึกษาจับคู่ 2 คน ทำสิ่งประดิษฐ์ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์จาก
แกนกระดาษทิชชูและให้นักศึกษาจับกลุ่ม ๆละ 4-5คน เขียนเรื่องในการจัดการเรียนการสอน
แบบโครงการ ซึ่งงาทั้ง 2ชิ้นส่งในครั้งต่อไป
การจัดการเรียนการสอนแบบโครงการ
1.เริ่มโครงการ
-หาหัวข้อเรื่องให้เด็กเสนอ
-อยากรู้อะไร
ถาม/ตอบ-ทำอย่างไร*สถานที่
คน
กิจกรรม-ทบทวนประสบการณ์เดิม*สนทนา

วันอังคารที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 10

23-08-54
วันนี้อาจารย์ สอนเกี่ยวกับเรื่องความคิดสร้างสรรค์ ความคิดริเริ่ม
ความคิดยืดหยุ่น ความคิดคล่องแคล่ว ความคิดละเอียดละออ
วิธีการ สอดคล้องกับพัฒนาการ
มีความหลากหลายที่ตัวกระบวนการ/สื่่อ
เนื้อหา สอดคล้องกับหน่วย
ลำดับขั้น ขั้นนำ ขั้นสอน ขั้นสรุป
ตัวอย่างการสอนแบบโครงการ เรื่องดอกไม้
ครูให้เด็กเลือกเรื่องที่อยากเรียน โดยทำเป็นแผนผัง ดังนี้
- ส่วนประกอบของดอกไม้มีอะไรบ้าง
- ดอกไม้มีสีอะไรบ้าง
- ดอกไม้มีประโยชน์อย่างไร
- ดอกไม้ขยายพันธุ์ด้วยวิธีใด
- ดอกไม้มีวิธีการดูแลอย่างไร
- ดอกไม้มีวิธีการปลูกอย่างไร
- ดอกไม้มีพิษอย่างไรบ้าง
กิจกรรม
- เคลื่อนไหวและจังหวะ แต่งเพลงเกี่ยวกับดอกไม้
- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ เชิญวิทยากรมาให้ความรู้ ไปดูสถานที่จริง
- กิจกรรมศิลปะ วาดรูปส่วนประกอบของดอกไม้
พิมพ์ภาพ ประดิษฐ์ดอกไม้ แต่งนิทานร่วมกัน ประกอบอาหาร

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 9

16-08-54
วันนี้ได้ศึกษาจากวิดีโอเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เรื่องความลับของแสง
ความลับของแสง
วิธีการทดลองการเดินทางของแสง
1.นำกล่องเจาะรูตรงกลาง นำตุ๊กตาใส่ลงในกล่องแล้วปิดฝา ถ้าเรามองไปเราก็จะไม่เห็นอะไรเลย
2.คราวนี้เอาฝากล่องออกเราก็จะมองเห็นตุ๊กตา
3.เจาะรูอีกรู เอาไฟฉายส่องเขาไปเราก็จะมองเห็นวัตถุ
-ที่เรามองเห็นวัตถุต่างๆรอบๆตัวได้ คือ แสงลงมาส่องวัตถุแล้วแสงของวัตถุก็จะสะท้อนเข้ามาในตาของเราทำให้เรามองเห็นวัตถุต่างๆได้
-แสงพุ่งเข้ามาหาเรา จะเคลื่อนที่ในลักษณะเป็นเส้นตรงและไม่มีทางเปลี่ยนทิศทางได้
คุณสมบัติของแสงมี 3 ประการคือ วัตถุที่แสงส่องผ่านได้และไม่ได้หรือเรียกว่า
1.วัตถุโปร่งแสง แสงทะลุผ่านวัตถุได้บางชนิดเท่านั้น เช่น กระจกมัวๆ
2.วัตถุโปร่งใส เช่น กระจกใส พลาสติกใส
3.วัตถุทึบแสง จะดูดกลืนแสงไว้ เช่น ไม้ หิน เหล็ก แม้กระทั่งตัวเรา
ความสำคัญของแสง


- ถ้าไม่มีแสงจะทำให้มองอะไรรอบตัวไม่เห็นเลย
- แสงเป็นคลื่นที่มีความสั้น/คลื่นที่เร็วมาก
- แสงเดินทางเป็นเส้นตรง

ประโยชน์
- ใช้ทำกล้องรูเข็ม/ การตกกระทบของแสง
- การสะท้อนของแสง/ ทำกล้องของเรือดำน้ำ
คุณสมบัติ
- การตกกระทบ
- การสะท้อน
- การหักเห