วันเสาร์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 15

27-09-54
วันนี้อาจารย์พูดถึงความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์พูดถึงหัวข้อหลักๆเกี่ยวกับรายวิชา
ความหมายของวิทยาศาสตร์
สื่อวิทยาศาสตร์
ทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์
ของเล่นวิทยาศาสตร์
โครงการวิทยาศาสตร์
การจัดนิทรรศการ
การจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
การเขียนแผนการจัดการเรียนวิทยาศาสตร์
หลักการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์
การประเมินทางวิทยาศาสตร์)สื่อมีอยู่สองอย่าง คือ
-ครูเตรียมไว้
-เด็กเล่นเอง
การใช้คำถามเพื่อให้เกิดการคิด

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 14

20-09-54
ในวันนี้นั้น อาจารย์ให้เอาแผนการจัดการเรียนการสอนส่ง
และได้อธิบาย หลักการเขียนแผน
วัตถถุประสงค์มีดังนี้
บอกส่วนประกอบต่างๆ
บอกลักษณะ
2. ประสบการณ์สำคัญ
ทักษะทางด้านการสังเกต
ทักษะทางด้านการวัด
ทักษะทางด้านการจำแนก
ทักษะทางด้านการสื่อความหมาย
3. สาระสำคัญ
ชื่อเรื่องที่จะสอน / หน่วย
4.การจัดกิจกรรม
ขั้นนำ
ขั้นสอน
ขั้นสรุป

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 13

13-09-54
วันนี้อาจารย์สอนเขียนแผนการจัดประสบกาณ์ทางวิทยาศาสตร์ ว่าการเขียนแผนที่ดีนั้นต้องมีหลักการอย่างไร โดยมีเนื้อหาดังนี้
1.สาระการเรียนรู้
- สิ่งที่อยู่รอบตัวเด็ก
- เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก
- ธรรมชาติ
- บุคคลและสถานที่ต่างๆ

2.ประสบการณ์สำคัญ
- ด้านร่างกาย
- ด้านอารมณ์
- ด้านสังคม
- ด้านสติปัญญา
- ด้านภาษา
- ด้านวิทยาศาสตร์
3.ทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์
- การจำแนก
- การสังเกต
- การสื่อความหมาย
- การแสดงความคิดเห็น
- การวัด
- การคำนวณ
- การแสดงความคิดเห็น

วันศุกร์ที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่12

06-09-25
วันนี้อาจารย์ได้สอนเรื่องน้ำโดยอาจารย์เปิดวีดีโอให้ดู
1.สิ่งที่อยู่รอบตัว
2.ครอบครัว
3.ธรรมชาติ
4.ชุมชน
ดู VDO เรื่องน้ำ
มหัศจรรย์ของน้ำ
น้ำเป็นส่วนประกอบของร่างกาย สิ่งต่างๆบนโลกมีน้ำเป็นส่วนประกอบ มีน้ำ 70% ผลไม้ 90% คนเราจะขาดน้ำได้ไม่เกิน 3 วัน
อูฐขาดน้ำได้ 10 วัน หลังอูฐมีไขมันไขมันเปลี่ยนเป็นน้ำไปหล่อเลี้ยงร่างกาย น้ำในร่างกายจะช่วยปรับสมดุล
น้ำมี 3 สถานะ 1. ของแข็ง 2. ของเหลว 3. ก๊าซ ของแข็งเป็นของเหลวของเหลวกลายเป็นไอ
ฝน คือ ไอน้ำที่ละเหยลงมาจากท้องฟ้า
น้ำขยายตัวเมื่อเปลี่ยนสถานะ สะสารทุกชนิดในโลกนี้มีโมเลกุลเป็นส่วนประกอบ
น้ำจะมีโมเลกุลมากกว่าน้ำแข็ง
เมื่อน้ำกลายตัวเป็นน้ำแข็งจะขยายตัวเพิ่มขึ้น 12%
น้ำเกลือจะมีความหนาแน่นกว่าน้ำเปล่า
น้ำ เป็นส่วนประกอบของร่างกาย อากาศมีความเกี่ยวข้องกับร่างกายเพราะเนื่องจากอากาศร้อนมากทำให้ร่างกายเสียเหงื่อมากดังนั้นเราควรดื่มน้ำวันละ 7-8 แก้วต่อวัน
สิ่งมีชีวิตต่า ๆ ในโลกมีส่วนประกอบของน้ำหรือไม่
วิธีการทดลอง
1.หาผลไม้พืชผักต่าง ๆ เช่น แอปเปิ้ล แครอท
2.นำมีดมาหันผลไม้เป้นชิ้นเล็ก ๆ แล้วใช้เครื่องบดให้ละเอียด
3.แล้วลองบีบดูจะเห็นว่าน้ำออกมาจากผลไม้
จะเห็นได้ว่า น้ำจะมีส่วนประกอบในสิ่งมีชีวิต ร่างกายของมนุษย์มีน้ำเป็นส่วนประกอบอยู่ 70 % ผักและผลไม้มีน้ำเป็นส่วนประกอบ 90 % ดังนั้นถ้าคนขาดน้ำจะทำให้รางกายอ่อนเพลีย
ฝนตกจะเกิดจากอะไร
คุณสมบัติของน้ำมี 3 ประการ คือ
1.ของแข็งคือ น้ำแข็ง
2.ของเหลวคือ น้ำที่เราดื่มและใช้อาบทุกวัน
3.ก๊าซคือ ไอน้ำ
น้ำสามารถเปลี่ยนสถานะจากของแข็งกลายเป็นของเหลว จากของเหลวกลายเป็นไอ จากไอกลายเป็นของเหลว

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่11

30/08/2554
วันนี้วันอาจารย์และนักศึกษาได้ร่วมสนทนา อภิปราย ซักถาม
เกี่ยวกับการทำประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ที่ทำจากวัสดุเหลือใช้ หาได้ง่ายและอาจารย์ได้มอบหมายงาน
ให้กลับไปทำเป็นการบ้านคือ ให้นักศึกษาจับคู่ 2 คน ทำสิ่งประดิษฐ์ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์จาก
แกนกระดาษทิชชูและให้นักศึกษาจับกลุ่ม ๆละ 4-5คน เขียนเรื่องในการจัดการเรียนการสอน
แบบโครงการ ซึ่งงาทั้ง 2ชิ้นส่งในครั้งต่อไป
การจัดการเรียนการสอนแบบโครงการ
1.เริ่มโครงการ
-หาหัวข้อเรื่องให้เด็กเสนอ
-อยากรู้อะไร
ถาม/ตอบ-ทำอย่างไร*สถานที่
คน
กิจกรรม-ทบทวนประสบการณ์เดิม*สนทนา

วันอังคารที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 10

23-08-54
วันนี้อาจารย์ สอนเกี่ยวกับเรื่องความคิดสร้างสรรค์ ความคิดริเริ่ม
ความคิดยืดหยุ่น ความคิดคล่องแคล่ว ความคิดละเอียดละออ
วิธีการ สอดคล้องกับพัฒนาการ
มีความหลากหลายที่ตัวกระบวนการ/สื่่อ
เนื้อหา สอดคล้องกับหน่วย
ลำดับขั้น ขั้นนำ ขั้นสอน ขั้นสรุป
ตัวอย่างการสอนแบบโครงการ เรื่องดอกไม้
ครูให้เด็กเลือกเรื่องที่อยากเรียน โดยทำเป็นแผนผัง ดังนี้
- ส่วนประกอบของดอกไม้มีอะไรบ้าง
- ดอกไม้มีสีอะไรบ้าง
- ดอกไม้มีประโยชน์อย่างไร
- ดอกไม้ขยายพันธุ์ด้วยวิธีใด
- ดอกไม้มีวิธีการดูแลอย่างไร
- ดอกไม้มีวิธีการปลูกอย่างไร
- ดอกไม้มีพิษอย่างไรบ้าง
กิจกรรม
- เคลื่อนไหวและจังหวะ แต่งเพลงเกี่ยวกับดอกไม้
- กิจกรรมเสริมประสบการณ์ เชิญวิทยากรมาให้ความรู้ ไปดูสถานที่จริง
- กิจกรรมศิลปะ วาดรูปส่วนประกอบของดอกไม้
พิมพ์ภาพ ประดิษฐ์ดอกไม้ แต่งนิทานร่วมกัน ประกอบอาหาร

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 9

16-08-54
วันนี้ได้ศึกษาจากวิดีโอเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เรื่องความลับของแสง
ความลับของแสง
วิธีการทดลองการเดินทางของแสง
1.นำกล่องเจาะรูตรงกลาง นำตุ๊กตาใส่ลงในกล่องแล้วปิดฝา ถ้าเรามองไปเราก็จะไม่เห็นอะไรเลย
2.คราวนี้เอาฝากล่องออกเราก็จะมองเห็นตุ๊กตา
3.เจาะรูอีกรู เอาไฟฉายส่องเขาไปเราก็จะมองเห็นวัตถุ
-ที่เรามองเห็นวัตถุต่างๆรอบๆตัวได้ คือ แสงลงมาส่องวัตถุแล้วแสงของวัตถุก็จะสะท้อนเข้ามาในตาของเราทำให้เรามองเห็นวัตถุต่างๆได้
-แสงพุ่งเข้ามาหาเรา จะเคลื่อนที่ในลักษณะเป็นเส้นตรงและไม่มีทางเปลี่ยนทิศทางได้
คุณสมบัติของแสงมี 3 ประการคือ วัตถุที่แสงส่องผ่านได้และไม่ได้หรือเรียกว่า
1.วัตถุโปร่งแสง แสงทะลุผ่านวัตถุได้บางชนิดเท่านั้น เช่น กระจกมัวๆ
2.วัตถุโปร่งใส เช่น กระจกใส พลาสติกใส
3.วัตถุทึบแสง จะดูดกลืนแสงไว้ เช่น ไม้ หิน เหล็ก แม้กระทั่งตัวเรา
ความสำคัญของแสง


- ถ้าไม่มีแสงจะทำให้มองอะไรรอบตัวไม่เห็นเลย
- แสงเป็นคลื่นที่มีความสั้น/คลื่นที่เร็วมาก
- แสงเดินทางเป็นเส้นตรง

ประโยชน์
- ใช้ทำกล้องรูเข็ม/ การตกกระทบของแสง
- การสะท้อนของแสง/ ทำกล้องของเรือดำน้ำ
คุณสมบัติ
- การตกกระทบ
- การสะท้อน
- การหักเห

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 8

09-08-54

ช่วงสอบกลางภาค

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 7

02-08-54
1.ส่งตารางที่อาจารย์ให้ไปทำมา4แผ่น
2.ส่งโครงการที่อาจารย์ให้ไปเขียนมาคนละหนึ่งโครงการ
3.อาจารย์ให้ออกไปนำเสนอของเล่นที่ประดิษฐ์จากเศษวัสดุเหลือใช้
วันนี้นำเสนอผลงานสิ่งประดิษฐ์ วิทยาศาสตร์ที่ทำมา ดิฉันทำรถมา โดยการเคลื่อนที่ของรถใช้แกนด้ายที่เหลือใช้ทำเป็นล้อรถ
สามารถให้รถที่ประดิษฐ์วิ่งได้ดีขึ้น ถ้าเราใช้ล้อรถเป็นอย่างอื่นที่ไม่ใช่วัสดุกลมๆอาจทำให้การเคลื่อนที่ของรถอาจเป็นไปได้อยาก

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 6

26-07-54
ได้มีการจัดกิจกรรมรณรงค์ ลด ละเลิก สิ่งเสพติด กลุ่มของดิฉันได้ทำเรื่องการทำงานของระบบหายใจ
อาจารย์สั่งไว้ตอนคาบที่แล้ว อาจารย์ให้ทำตารางใสกระดาษA4แล้วนำมาในคาบหน้าและพูดถึงกิจกรรมในวันพุธ
1.การรณรงค์
2.การทดลอง
3.ทำไปรษณียบัตร

4.จัดบอร์ด
**การบ้าน**
-เขียนโครงการ
-หลักการและเหตุผล
-มีกิจกรรมอะไรบ้าง เช่น ทำบอร์ด มีการทดลอง
-วิธีการดำเนินงาน เช่น จัดสถานที่ บอร์ดให้ความรู้ สถานที่ทดลอง เดินรณรงค์
-กิจกรรมมีสื่ออย่างไร มีขั้นตอนอย่างไร มีวิธีการดำเนินอย่างไร
วัยที่มีความอยากรู้อยากเห็น (เด็กปฐมวัย)
-วัยที่มีการพัฒนาทางสติปัญญาที่สุดของชีวิต
-แสวงหาความรู้และสามารถอก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง จากสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยสามารถคิดหาเหตุผล แสวงหาความรู้แก้ปัญหาไดตามวัยของเด็กๆ ควรจัดกิจกรรมให้เด็กได้ลงมือกระทำด้วยตนเอง จากสิ่งแวดล้อมรอบๆตัว
ความหมายทักษะการสังเกต
ทักษะการสังเกต หมายถึงการใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกัน ได้แก่ หู ตา จมูก ปาก ลิ้น และผิวกาย เข้าไปสัมผัสโดยตรงกับวัตถุหรือเหตุการณ์ โดยมีจุดประสงค์ที่จะหาข้อมูลซึ่งเป็นรายละเอียด ดังนี้
1. การสังเกตรูปลักษณะทั่วไป
2.การสังเกตควบคู่กับการวัดปละหาปริมาณ
ความหมายทักษะการจำแนกประเภท
ทักษะการจำแนกประเภท ความสามารถในการแบ่งประเภทสิ่งของโดยหาเกณฑ์
1. ความเหมือน
2.ความแตกต่าง
3.ความสัมพันธ์ร่วม
ความหมายทักษะการวัด
ทักษะการวัด หมายถึง การใช้เครื่องมือ ต่างๆ วัดหาปริมาณของสิ่งที่เราต้องการทราบได้ย่างถูกต้อง โดยมีหน่วยการวัดกำกับ
1.รู้จักสิ่งของที่วัด
2. การเลือกเครื่องมือที่นำมาใช้วัด
3.วิธีการที่เราจะวัด
ความหมายทักษะการสื่อความหมาย
ทักษะการสื่อความหมาย หมายถึง การพูด การเขียน รูปภาพและภาษาท่าทางการแสดงสีหน้า ความสามารถรับข้อมูลได้อย่างถูกต้องและชัดเจน
1. บรรยายลักษณะคุณสมบัติของวัตถุ
2.บันทึกการเปลี่ยนแปลงของวัตถุได้
3.บอกความสัมพันธ์ของข้อมูลที่ได้จัดกระทำ
4.จัดกระทำข้อมูลในรูปแบบต่างๆ
ความหมายของทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางิทยาศาสตร์ เป็นทักษะที่ส่งเสริมใหห้เด็กปฐมวัยสามารถคิดหาเหตุผล แสวงหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาได้ตามวัยของเด็ก ความหมายทักษะการสังเกตุ
ทักษะการสังเกตุ [Observation] หมายถึง การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างมารวมกัน เช่น ตา หู จมูก ปาก ลิ้น และผิวกายเข้าไปสัมผัสโดยตรงกับวัตถุหรือเหตุการณ์โดยมีจุดประสงค์ที่จะหาข้อมูล ซึ่งเป็นรายละเอียดดังนี้
1.การสังเกตุรูปร่างลักษณะและคุณสมบัติทั่วไป
2.การสังเกตุควบคู่กับการวัดเพื่อทราบปริมาณ
ความหมายของทักษะการจำแนกประเภท
ทักษะการจำแนกประเภท [Classifying] หมายถึง ความสามารถในการแบ่งประเภทสิ่งของโดยหาเกณฑ์ Criteria
1.ความเหมือน
2.ความแตกต่าง
3.ความสัมพันธ์ร่วม

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 5

19-07-54
อาจารย์ให้กลุ่มที่ยังไม่ได้รายงานเกี่ยวกับการทดลองวิทยาศาสตร์จากนั้นอาจารย์ก็ได้ถามนักศึกษาเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำมาทั้งหมดว่ามีกิจกรรมอะไรบ้าง

กิจกรรมวิทยาศาสตร์

- ไข่ลอยฟ้า
- แรงดันน้ำ
- ไข่ลอยในน้ำเกลือ
- ขวดเป่าลูกโป่ง
- การเดินทางของแสง
- การเดินทางของเสียง

ข้อความรู้
ตัวอย่างสื่อวิทยาศาสตร์ จิตวิทยาการเรียนรู้ หลักการจัดประสบการณ์ ของเล่นวิทยาศาสตร์
แนวคิดนักการศึกษา กิจกรรมวิทยศาสตร์

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ตั้งสมมุติฐาน ตั้งคำถาม ทดลอง คือ ให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติ สังเกต บันทึกผล สรุปผลการทดลอง เปรียบเทียบกัน

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 4

12-07-54
วันนี้อาจารย์ได้ให้เพื่อนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์
เสนอกิจกรรมวิทยาศาสตร์ที่แต่ละกลุ่มเตรียมมา
กลุ่มที่ 1 เรื่องแรงดัน
กลุ่มที่ 2 เรื่องไข่ลอยนำเกลือ
กลุ่มที่ 3 เรื่องลูกโป่งในขวด
กลุ่มที่ 4 เรื่องไข่ลอยฟ้า

วันเสาร์ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 3

วันที่5/07/2554
วันนี้มีการนำเสนองานที่อาจารย์มอบหมายให้ในสัปดาห์ที่แล้ว โดยแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอเป็นPower point และการทำกิจกรรมบ้าง แต่กลุ่มที่ทำเป็น Power point มา นั้น อาจารย์ ให้รายงานแค่หัวข้อเพราะอาจารย์ต้องการจะดูว่าการนำเสนอของแต่ละกลุ่มมีวิธีการอย่างไร โดยแต่ละกลุ่มก็มีวิธีการที่คล้ายๆกัน อาจารย์เลยให้กลับไปคิดวิธีนำเสนอใหม่ๆขึ้นมา วันนี้อาจารย์ ได้อธิบายวิธีการนำเสนองานแบบต่าง และได้ให้ความหมายของวิทยาศาสตร์ ที่เกี่ยวกับเนื้อหาในรายวิชา
วิทยาศาสตร์ คือ ความสามารถในการคิดที่ต้องอาศัยกระบวนการทางสติปัญญา ความคิดและประสบการณ์เดิมของบุคคลมาประกอบกัน และวันนี้ได้ทำกิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ และได้สรุปและอธิบายเกี่ยวกับกิจกรรมที่เพื่อนๆกลุ่มอื่นได้นำมาให้ทำกิจกรรมด้วย

วันพฤหัสบดีที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 2

วันที่ 28/06/2554
วันนี้อาจารย์นั้นได้เปิดเพลงให้พวกเราฟังเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และอาจารย์นั้นได้พูดเกี่ยวกับเนื้อหาของเพลงและให้นำมาวิเคราะห์เกี่ยวกับเพลงที่อาจารย์นั้นได้เปิดให้ฟัง
ฟังเพลง ไอน้ำ แล้วให้คิดความรู้ที่ได้จากเพลงนี้ เพลงนี้เป็นวิทยาศาสตร์อย่างไร เพลงนี้นำไปใช้ในการจัดประสบกาณ์อย่างไร มีเนื้อหาดังนี้
1. ความรู้ที่ได้จากเพลงนี้
- แสงอาทิตย์ส่องแสงไปในน้ำทำให้น้ำร้อนและน้ำเกิดการระเหยเป็นไอน้ำลอยขึ้นท้องฟ้า
- ดวงอาทิตย์ทำให้เกิดความร้อน
- น้ำเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นไอ เพราะ ถูกความร้อน
2. เพลงนี้เป็นวิทยาศาสตร์อย่างไร
- น้ำกลายเป็นไอที่เกิดจากความร้อนทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
- เป็นสิ่งที่พิสูจน์ได้
- เป็นผลกระทบต่อการดำรงชีวิต
- ความร้อนทำให้เกิดการแปลง
3. เพลงนี้นำไปใช้ในการจัดประสบกาณ์
- นำไปใช้สร้างหน่วย เนื้อหาสาระ
- นำเพลงมาเป็นสื่อ
ได้กล่าวถึง ความหมาย ของวิทยาศาสตร์
- เป็นสิ่งที่อยู่รอบตัวเรา
- เป็นสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
- เป็นสิ่งที่พิสูจน์ได้

วันเสาร์ที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 1

วันที่ 22/06/54
วันนี้เป็นวันแรกที่เรียนวิชานี้ เพราะเพิ่งเริมเปิดเรียน บรรยากาศในวันแรกที่เริ่มเรียนวิชานี้ รู้สึกดีมาก มีความสนุกสนาน มีเสียงหัวเราะ
เพราะวันแรกเป็นการเริ่มต้นอะไรที่ดีๆๆ ใหม๋ วันนี้ได้ทบทวนความรูเดิมๆที่รียนผานมา อาจารย์ก็ได้เสิมและเพิ่มเติมความรู้ที่ลืมไปให้ด้วย วันนี้อาจารย์ได้อธิบายเกี่ยวกับแนวการสอนและข้อปฏิบัติต่างๆ และข้อตกลงเก่ยวกับการเรียนการสอน อาจารย์ได้อธิบายเกี่ยวกับเนื้อหาที่สอดคล้องกับวิชาการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยอย่าละเอียดและนักศึกษาได้ช่วยอธิบายเพิ่มเติมด้วย